ภาษีสรรพสามิต | = รายรับค่าบริการ x อัตราภาษี | รายรับค่าบริการ | = รายรับค่าผ่านประตู + รายรับที่หักจากเงินรางวัลจากการพนันแข่งม้าชนะและม้ารอง | ภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ | = {รายรับค่าผ่านประตู + (รายรับที่หักจากเงินรางวัลจากการพนันแข่งม้าชนะ x 22.5) + | (รายรับที่หักจากเงินรางวัลจากการพนันแข่งม้าชนะ x 17.5)} x อัตราภาษี |
ตัวอย่างการคำนวณภาษี สมาคมราชกรีฑาสโมสร มีรายรับค่าผ่านประตู 300,000 บาท และรายรับที่หักไว้จากผู้เล่นการพนันแข่งม้าชนะ 2,000,000 บาท รายรับที่หักไว้จากผู้เล่นการพนันแข่งม้ารอง 1,000,000 บาท อัตราภาษีสรรพสามิตตามมูลค่าร้อยละ 20รายการ | ภาษีสนามแข่งม้า | 1. รายรับจากค่าบัตรผ่านประตู | 300,000 | 1.1 ภาษีสรรพสามิต 20% + ภาษีเก็บเพิ่มเพื่อมหาดไทย (10% ของภาษีสรรพสามิต) | 61,380 | 2. รายรับจากเงินรางวัลการพนันแข่งม้า | 300,000 | ม้าชนะ (WIN) | ม้ารอง (PLACE) | 2.1 รายรับจากการพนันแข่งม้า | 2,000,000 | 1,000,000 | 2.2 เงินรางวัลที่สนามแข่งม้าหักให้ผู้เล่นพนันม้า | 1,550,000 (77.5%) | 825,000 (82.5%) | 2.3 เงินที่สนามแข่งม้าหักไว้ เป็นฐานในการคำนวณภาษีสรรพสามิต | 450,000 (22.5%) | 175,000 (17.5%) | 2.4 ภาษีสรรพสามิต 20% + ภาษีเก็บเพิ่มเพื่อมหาดไทย (10% ของภาษีสรรพสามิต) | 99,000 | 38,500 | รวมภาษีที่พึงต้องชำระ (1.1 + 2.4 + 2.5) | 198,880 บาท |
ผู้ประกอบการสนามแข่งม้า สามารถคำนวณภาษีสรรพสามิตได้ โดยวิธีการดังต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1 การคำนวณภาษีค่าผ่านประตู
1. สมมุติให้ผู้ประกอบการสนามแข่งม้า มีรายรับจากบัตรค่าผ่านประตู = 300,000 บาท | การคำนวณ ค่าบัตรผ่านประตูรวมภาระภาษีทั้งหมด = 300,000 บาท | ค่าภาษีมูลค่าเพิ่ม | = (300,000 x 7%) = 21,000 บาท | ฐานราคาไม่รวมภาษีมูลค่าเพิ่ม | = 300,000 - 21,000 บาท | = 279,000 บาท | ค่าบัตรผ่านประตู 279,000 บาท จึงป็นราคาค่าบริการที่รวมภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระไว้แล้ว | สามารถคำนวณภาษีสรรพสามิตได้ อัตราร้อยละ 20 + ภาษีเก็บเพื่อกระทรวงมหาดไทยอีกร้อยละ 10 | ภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ | = (279,000 x 22%) = 61,380 บาท | ราคาค่าผ่านประตูที่ไม่รวมภาษีสรรพสามิต | =279,000 – 61,380 | = 217,620 บาท | นำตัวเลขมาใส่ในโครงสร้างราคาค่าบริการได้ดังนี้ | โครงสร้างราคาค่าผ่านประตู | 1. ราคาค่าผ่านประตูซึ่งไม่รวมภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ 217,620 บาท | 2. ภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ 61,380 บาท | 3. ราคาค่าผ่านประตูซึ่งรวมภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระเรียบร้อยแล้ว | (1) + (2) = 279,000 บาท |
ตัวอย่างที่ 2 การคำนวณภาษีค่าผ่านประตู
1. สมมุติให้ผู้ประกอบการสนามแข่งม้า มีรายรับจากบัตรค่าผ่านประตู = 217,620 บาท (ยังไม่รวมภาระภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระและมูลค่าเพิ่ม) | การคำนวณ ค่าบัตรผ่านประตูยังไม่รวมภาระภาษี = 217,620 บาท | ภาษีสรรพสามิต | = 217,620 x 0.22 1 – (1.1 x 0.20) | = 47,876.40 / 0.78 | ภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ | = 61,380 บาท | ราคาค่าผ่านประตูที่รวมภาษีสรรพสามิต | =217,620 – 61,380 | = 279,000 บาท | นำตัวเลขมาใส่ในโครงสร้างราคาค่าบริการได้ดังนี้ | โครงสร้างราคาค่าผ่านประตู | 1. ราคาค่าผ่านประตูซึ่งไม่รวมภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ 217,620 บาท | 2. ภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ 61,380 บาท | 3. ราคาค่าผ่านประตูซึ่งรวมภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระเรียบร้อยแล้ว | (1) + (2) = 279,000 บาท |
การคำนวณภาษีรายรับจากการพนันแข่งม้า
ตัวอย่างที่ 1 สมมุติ รายรับจากการพนันแข่งม้าที่หักไว้เป็นฐานในการคำนวณภาษี | 2.1 ม้าชนะ (WIN) | = 450,000 บาท | 2.2 ม้ารอง (PLACE) | = 175,000 บาท | เป็นราคาค่าบริการที่รวมภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระไว้แล้ว สามารถคำนวณภาษีสรรพสามิตได้ อัตราร้อยละ 20 + ภาษีเก็บเพิ่มเพื่อกระทรวงมหาดไทยร้อยละ 10 | ภาษีสรรพสามิตที่พึงต้องชำระ | 2.1 ม้าชนะ (WIN) | = (450,000 x 22%) = 99,000 บาท | 2.2 ม้ารอง (PLACE) | = (175,000 x 22%) = 38,500 บาท | รวมภาษีที่สนามแข่งม้าต้องชำระ 61,380 + 99,000 + 38,500 = 198,880 บาท |
|